ลักษณะ ทั่ว ไป
ระบบ ฮาร์ดดิสค์ แตก ต่างกับแผ่น ดิสเกตต์ ซึ่ง โดย ทั่ว ไป แล้ว จะ มี จำนวน หน้า สำหรับ เก็บ บัน ทึก ข้อ มูล มาก กว่า สอง หน้า นอก จาก ระบบ ฮาร์ดดิสค์ จะ เก็บ บัน ทึก ข้อ มูล เหมือน แผ่น ดิสเกตต์ยัง เป็น ส่วน ที่ ใช้ ใน การอ ่านหรือ เขียน บัน ทึก ข้อ มูล เหมือน ช่องดิสค์ไดรฟ์ แผ่น จาน แม่ เหล็ก ของ ฮาร์ดดิสค์ จะ มี ความ หนา แน่น ของ การ จุ ข้อ มูล บน ผิว หน้า ได้ สูง กว่า แผ่น ดิสเกตต์มาก เช่น แผ่น ดิสเกตต์มาตรา ฐาน ขนาด 5.25 นิ้ว ความ จุ 360 กิโลไบต์ จะ มี จำนวน วง รอบ บัน ทึก ข้อ มูล หรือ เรียก ว่า แทร็ก (track) อยู่ 40 แทร็ก กรณี ของ ฮาร์ดดิสค์ ขนาด เดียว กัน จะ มี จำนวน วง รอบ สูง มาก กว่า 1000 แทร็กขึ้น ไป ขณะ เดียว กัน ความ จุ ใน แต่ ละแทร็กของ ฮาร์ดดิสค์ ก็ จะ สูง กว่า ซึ่ง ประมาณ ได้ ถึง 5 เท่า ของ ความ จุ ใน แต่ ละแทร็กของ แผ่น ดิสเกตต์ เนื่อง จาก ความ หนา แน่น ของ การ บัน ทึก ข้อ มูล บน ผิว แผ่น จาน แม่ เหล็ก ของ ฮาร์ดดิสค์ สูง มาก ๆ ทำ ให้ หัว อ่าน และ เขียน บัน ทึก มี ขนาด เล็ก ตำแหน่ง ของ หัว อ่าน และ เขียน บัน ทึก ก็ ต้อง อยู่ ใน ตำแหน่ง ที่ ใกล้ ชิดกับผิว หน้า จาน มาก โอกาส ที่ ผิว หน้า และ หัว อ่าน เขียน อาจ กระ ทบ กัน ได้ ดัง นั้น แผ่น จาน แม่ เหล็ก จึง ควร เป็น แผ่น อะลูมิเนียม แข็ง แล้ว ฉาบ ด้วย สาร แม่ เหล็ก ฮาร์ดดิสค์ จะ บรรจุ อยู่ ใน กล่อง โลหะ ปิด สนิท เพื่อ ป้อง สิ่ง สกปรก หลุด เข้า ไป ภาย ใน ซึ่ง ถ้า ต้อง การ เปิด ออก จะ ต้อง เปิด ใน ห้อง เรียก clean room ที่ มี การก รอง ฝุ่น ละ ออก จาก อากาศ เข้า ไป ใน ห้อง ออก แล้ว ฮาร์ดดิสค์ ที่ นิยม ใช้ ใน ปัจจุบัน เป็น แบบ ติด ภาย ในเครื่องไม่ เคลื่อน ย้าย เหมือน แผ่นดิส เกตต ์ ดิสค์ประเภท นี้ อาจ เรียก ว่า ดิสค์วินเชสเตอร์ (Winchester Disk)
ระบบ
ฮาร์ดดิสค์ ส่วน ใหญ่ จะ ประกอบ ด้วย แผ่น จาน แม่ เหล็ก (platters) สอง แผ่น หรือ มาก กว่า มา จัด เรียง อยู่ บน แกน เดียว กัน เรียก Spindle ทำ ให้ แผ่น แม่ เหล็ก หมุน ไป พร้อม ๆ กัน จาก การ ขับ เคลื่อน ของ มอเตอร์ ด้วย ความ เร็ว 3600 รอบ ต่อ นาที แต่ ละ หน้า ของ แผ่น จาน จะ มี หัว อ่าน เขียน ประจำ เฉพาะ โดย หัว อ่าน เขียน ทุก หัว จะ เชื่อม ติด กัน คล้าย หวี สามารถ เคลื่อน เข้า ออก ระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่าง รวด เร็ว
จาก
จาก รูป แสดง ฮาร์ดดิสค์ ที่ มี แผ่น จาน 2 แผ่น พร้อม การ กำกับ ชื่อ แผ่น และ หน้า ของดิสค ์ ผิว ของ แผ่น จานกับหัว อ่าน เขียน จะ อยู่ เกือบ ชิด ติด กัน คือ ห่าง กัน เพียง หนึ่ง ใน แสน ของ นิ้ว และ ระยะ ห่าง นี้ ใน ระหว่างแทร็กต่าง ๆ ควร สม่ำเสมอ เท่า กัน ซึ่ง กล ไก ของเครื่องและ การ ประกอบ ฮาร์ดดิสค์ ต้อง ละเอียด แม่น ยำ มาก การ หมุน อย่าง รวด เร็ว ของ แผ่น จาน ทำ ให้ หัว อ่าน เขียน แยก ห่าง จาก ผิว จาน ด้วย แรง ลม หมุน ของ จาน แต่ ถ้า แผ่น จาน ไม่ ได้ หมุน หรือ ปิดเครื่อง หัว อ่าน เขียน จะ เลื่อน ลง ชิดกับแผ่น จาน ดัง นั้น เวลา เลิก จาก การ ใช้ งาน เรา นิยม เลื่อน หัว อ่าน เขียน ไป ยัง บริเวณ ที่ ไม่ ได้ ใช้ เก็บ ข้อ มูล ที่ เรียก ว่า Landing Zone เพื่อ ว่า ถ้า เกิด การก ระ แทรก ของ หัว อ่าน เขียน และ ผิว หน้า แผ่น จาน ก็ จะ ไม่ มี ผล ต่อ ข้อ มูล ที่ เก็บ ไว้
การ โอน ย้าย ข้อ มูล ระหว่าง ฮาร์ดดิสค์กับหน่วย ความ จำ
ฮาร์ดดิสค์ ที่ ใช้ งาน ประกอบเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ จะ ต้อง มี การ์ด ควบ คุม ฮาร์ดดิสค์ มา ทำ งาน ร่วม โดย จะ เสียบ เข้ากับสล้อตที่ ยัง ว่าง อยู่ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ใน การ อ่าน ข้อ มูล จากดิสค ์ หัว อ่าน เขียน จะ นำ ข้อ มูล ที่ อ่าน ได้ ส่ง ผ่าน วง จร อิเล็กทรอนิกส์ ของไดรฟ์ไป ยัง การ์ด ควบ คุ มดิสค ์ โดย จะ เก็บ อยู่ ใน เนื้อ ที่ ความ จำ ชั่ว คราว เพื่อ เก็บ ข้อ มูล เรียกบัฟเฟอร์ข้อ มูล (Data buffer) ขณะ เดียว กัน วง จร บน การ์ด ควบ คุม จะ ส่ง สัญญาณ ไป ยัง หน่วย ประมวล ผล กลาง (CPU) ซึ่ง ก็ คือ ไมโคร โปรเซสเซอร์ เบอร์ 8088, 80286 หรือ 80386 เป็น ต้น เพื่อ ให้ ตัว ซี พียูโอน ย้าย ข้อ มูล จากบัฟเฟอร์ข้อ มูล ไป ยัง หน่วย ความ จำ หลัก ของ คอมพิวเตอร ์
ฮาร์ดดิสค์
จาก รูป แสดง การ โอน ย้าย ข้อ มูล ระหว่าง ฮาร์ดดิสค์กับหน่วย ความ จำ การ โอน ย้าย ข้อ มูล ข้าง ต้น อาจ ทำ ได้ 2 วิธี คือ ถ้า เป็นเครื่องรุ่น AT และ PS/2 ตัว ซี พียูจะ ทำ งาน นั้น โดย ตรง ผ่าน ตัว มัน ไป หน่วย ความ จำ แต่ ถ้า เป็นเครื่องรุ่น เก่า คือ PC และ XT การ โอน ย้าย ข้อ มูล จะ กระ ทำ ผ่าน ชิพดีเอ็มเอ (DMA) ที่ ย่อ มา จาก Direct Memory Access โดย จะ โอน ย้าย ข้อ มูล จากบัฟเฟอร์ข้อ มูล ไป หน่วย ความ จำ หลัก ไม่ ต้อง ผ่าน ตัว ซี พียูทั้ง นี้ เพราะ ตัว ซี พียูเบอร์ 8088 ของเครื่องรุ่น XT หรือ PC ทำ งาน ช้า ไม่ ทัน ต่อ อัตรา ความ เร็ว ของ การ โอน ย้าย ข้อ มูล ของ ฮาร์ดดิสค์ ข้อ มูล ที่ โอน ย้าย ไป ยัง หน่วย ความ จำ แรม จะ เก็บ ใน พื้น ที่ เรียกบัฟเฟอร์ขอ งดอ ส ซึ่ง หนึ่งบัฟเฟอร์จะ เก็บ ข้อ มูล จากดิสค์ได้ 1 เซกเตอร์ จำนวนบัฟเฟอร์นี้ ผู้ ใช้ งาน ควร จะ เป็น ผู้ กำหนด ขึ้น เอง จาก คำ สั่ง BUFFERS บรรจุ ใน ไฟล์ ราว 20 บัฟเฟอร์ เมื่อ เรา อ่าน ข้อ มูล ไฟล์ จากดิสค์ไป เก็บ ในบัฟเฟอร์ขอ งดอ ส และ บรรจุ ในบัฟเฟอร์จน เต็ม ครบ หมด การ โอน ย้าย เซกเตอร์ต่อ ไป จะ ยึด ตาม หลัก ว่า บัฟเฟอร์ใด ถูก เรียก ใช้ จาก โปรแกรม ใช้ งาน ล่า สุด น้อย ที่ สุด (least recently accessed) ก็ จะ ถูก แทน ที่ เขียน ทับ ใหม่ ข้อ มูล ที่ อยู่ ในบัฟเฟอร์ดอสจะ โอน ย้าย ไป ยัง หน่วย ความ จำ อื่น ตาม ความ ต้อง การ ของ โปรแกรม ประยุกต์ ใช้ งาน
การ์ด ควบ คุม ฮาร์ดดิสค์
เนื่อง จาก ฮาร์ดดิสค์ ไม่ สามารถ ทำ งาน เก็บ ข้อ มูล เอง ได้ เรา จำ เป็น ต้อง มี การ์ด ควบ คุม มาบ อก การ ทำ งาน ประกอบ ด้วย ตาม ปกติ การ์ด นี้ จะ ใช้ เสียบ เข้า ช่องสล้อตสำหรับ การ เพิ่ม ขยาย สัญญาณ ที่ เข้า หรือ ออก จาก ฮาร์ดดิสค์ จะ ต้อง ผ่าน การ์ด ควบ คุม นี้ ก่อน เสมอ การ์ด ควบ คุม แต่ ละ ชุด จะ มี วิธี การ เข้า รหัส เฉพาะ สำหรับ ช่องไดรฟ์ เรา ไม่ สามารถ นำ การ์ด ควบ คุม อื่น ที่ ใช้ วิธี การ เข้า รหัส ที่ แตก ต่าง กัน มา อ่าน ข้อ มูล ใน ฮา ร์ดดิสค ์ ฮาร์ดดิสค์ นั้น จะ ต้อง ทำ การฟอร์แมตใหม่ จึง จะ ใช้ งานกับการ์ด ควบ คุม นั้น ชนิด ของ การ์ด ควบ คุม ที่ นิยม ใช้ ใน ปัจจุบัน ขึ้นกับอินเตอร์รัฟต์ที่ มี อยู่ 4 ชนิด คือ 1. ชนิด ST-506/41L เป็น ระบบ ควบ คุม มาตรา ฐาน เริ่ม แรก ที่ ใช้กับเครื่องพี ซี มี วิธี การ เข้า รหัส แบบ MFM แล้ว ภาย หลัง จึง ได้ ขยาย เป็น แบบ RLL และ ARLL ตาม เทคโนโลยี ของ วัสดุ ที่ ใช้ ข้อ สังเกต ประการ หนึ่ง ที่ บอก ข้อ แตก ต่าง ของ การ เข้า รหัส แบบ MFM และ RLL คือ การ แบ่ง เซกเตอร์ในแทร็ ก ช่องไดรฟ์แบบ MFM จะ ใช้ 17 คลัสเตอร์ต่อแทร็ค และ ไดรฟ์แบบ RLL จะ ใช้ 26 คลัสเตอร์ต่อแทร็ ค โดย แบบ RLL จะ มี ความ จุ ได้ มาก กว่า ราว 30% จะ ตรงกับฮาร์ดดิสค์ ช่องไดรฟ์ขนาด 20 เมกะไบต์ของ แบบ MFM
เนื่อง
2. ชนิด ESDI (enhanced small device interfaues) เป็น ระบบ ที่ สูง ขึ้น กว่า ระบบ มาตรา ฐาน ST-506 สำหรับไดรฟ์ความ จุ มาก ขึ้น และ ความ เร็ว สูง ขึ้น นับ เป็น ระบบ ที่ ออก แบบ มา เพื่อใ่ช้กับเครื่องที่ มี ไมโคร โปรเซสเซอร์ 80286 และ 80386 ที่ มี ความ เร็ว สัญญาณ นาฬิกา สูง กว่า อัตรา การ โอน ย้าย ข้อ มูล หรือ การ อ่าน ข้อ มูล จากดิสค์จะ เร็ว กว่าดิสค์แบบ ST-506 ราว 4 เท่า โดยดิสค์แบบ ST-506 จะ ใช้กับเครื่องที่ ช้า กว่า ใช้ ไมโคร โปรเซสเซอร์ 8088 การ์ด ควบ คุม แบบ ESDI สามารถ ต่อ ฮาร์ดดิสค์ ได้ สอง ตัว
3. ชนิด SCSI (Small Computer System Interface) อ่าน ว่า "SCUZZY" เป็น การ์ด รุ่น ใหม่ ที่ นิยม ใช้ กัน มาก ขึ้น เพราะ ระบบ นี้ ไม่ เพียง เป็น การ์ด ควบ คุม ฮาร์ดดิสค์ ยัง เป็น การ เชื่อม โยงบัสที่ ชาญ ฉลาด (intelligent) ที่ มี โปรเซสเซอร์ อยู่ ใน ตัว เอง ทำ ให้ เป็น ส่วน เพิ่ม ขยายกับแผง วง จร ใหม่ ขนาด และ อัตรา การ อ่าน ข้อ มูล เทียบ ได้ ใกล้ เคียงกั บ ESDI ระบบ SCSI นอก จาก จะ ใช้ เพื่อ ควบ คุม ฮาร์ดดิสค์ เรา ยัง ใช้ เพื่อ การ ควบ คุม อุปกรณ์ ต่อ เสริม อื่น ๆ ได้ ด้วย เช่น โมเด็ม , ซี ดี รอม , สแกนเนอร์ และเครื่องพิมพ์ ระบบ SCSI ใน หนึ่ง การ์ด สนับสนุน การ ต่อ อุปกรณ์ ถึง 8 ตัว โดย คอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ จะ ถือ เป็น อุปกรณ์ ด้วย ดัง นั้น จึง เหลือ ให้ เรา ต่อ อุปกรณ์ ได้ เพิ่ม อีก 7 ตัว ภาย ใต้ดอส ระบบ SCSI จะ ให้ เรา ใช้ ฮาร์ดดิสค์ ได้ เพียง 2 ตัว (ตาม การ อ้าง แอดเดรส ของไบออส) ถ้า ต้อง การ ต่อ อุปกรณ์ อื่น ๆ เรา ต้อง ใช้ ดี ไวซ์ไดรเวอร์จาก บริษัท อื่น มา ทำ การ ติด ตั้ง เสีย ก่อน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น